วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สุดเจ๋ง Mint Linux

นี่เล่นบน Live CD เหมือน Debian กับ Ubuntu เป๊ะเลย ทุกอย่างหาเจอหมด แม้แต่แอร์การ์ดเจ้าปัญหา


 Software ฟรีเดี๋ยวนี้พัฒนาก้าวหน้าไปมาก ภาษาไทยใช้งานได้ดีด้วย ฮาร์ดแวร์หาเองเจอหมด
เยี่ยมจริง ๆ

วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ไฟล์คอนฟิก Grub ให้บูท MAC OS X

/boot/grub/grub.cfg


#
# DO NOT EDIT THIS FILE
#
# It is automatically generated by grub-mkconfig using templates
# from /etc/grub.d and settings from /etc/default/grub
#

### BEGIN /etc/grub.d/00_header ###
if [ -s $prefix/grubenv ]; then
  set have_grubenv=true
  load_env
fi
set default="0"
if [ "${prev_saved_entry}" ]; then
  set saved_entry="${prev_saved_entry}"
  save_env saved_entry
  set prev_saved_entry=
  save_env prev_saved_entry
  set boot_once=true
fi

function savedefault {
  if [ -z "${boot_once}" ]; then
    saved_entry="${chosen}"
    save_env saved_entry
  fi
}

function recordfail {
  set recordfail=1
  if [ -n "${have_grubenv}" ]; then if [ -z "${boot_once}" ]; then save_env recordfail; fi; fi
}

function load_video {
  insmod vbe
  insmod vga
}

insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos5)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912
if loadfont /usr/share/grub/unicode.pf2 ; then
  set gfxmode=640x480
  load_video
  insmod gfxterm
fi
terminal_output gfxterm
insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos5)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912
set locale_dir=($root)/boot/grub/locale
set lang=th
insmod gettext
if [ "${recordfail}" = 1 ]; then
  set timeout=-1
else
  set timeout=10
fi
### END /etc/grub.d/00_header ###

### BEGIN /etc/grub.d/05_debian_theme ###
set menu_color_normal=white/black
set menu_color_highlight=black/light-gray
### END /etc/grub.d/05_debian_theme ###

### BEGIN /etc/grub.d/10_linux ###
menuentry 'Ubuntu, with Linux 2.6.35-22-generic' --class ubuntu --class gnu-linux --class gnu --class os {
recordfail
insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos5)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912
linux /boot/vmlinuz-2.6.35-22-generic root=UUID=8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912 ro   quiet splash
initrd /boot/initrd.img-2.6.35-22-generic
}
menuentry 'Ubuntu, with Linux 2.6.35-22-generic (recovery mode)' --class ubuntu --class gnu-linux --class gnu --class os {
recordfail
insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos5)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912
echo 'Loading Linux 2.6.35-22-generic ...'
linux /boot/vmlinuz-2.6.35-22-generic root=UUID=8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912 ro single
echo 'Loading initial ramdisk ...'
initrd /boot/initrd.img-2.6.35-22-generic
}


### END /etc/grub.d/10_linux ###

### BEGIN /etc/grub.d/20_linux_xen ###
### END /etc/grub.d/20_linux_xen ###

### BEGIN /etc/grub.d/20_memtest86+ ###

menuentry "Memory test (memtest86+)" {
insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos5)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912
linux16 /boot/memtest86+.bin
}
menuentry "Memory test (memtest86+, serial console 115200)" {
insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos5)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8255de0d-a256-4d35-91c0-789c94a0c912
linux16 /boot/memtest86+.bin console=ttyS0,115200n8
}
### END /etc/grub.d/20_memtest86+ ###

### BEGIN /etc/grub.d/30_os-prober ###
menuentry "Windows 7 (loader) (on /dev/sda1)" {
insmod part_msdos
insmod ntfs
set root='(hd0,msdos1)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 50582a9c582a8138
chainloader +1
}

menuentry "Mac OS X (32-bit) (on /dev/sda4)" {
insmod part_msdos
insmod hfsplus
set root='(hd0,msdos4)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8180d99bcb542a31
makeactive
chainloader +1
}

menuentry "Debian GNU/Linux, with Linux 2.6.32-5-686 (on /dev/sda7)" {
insmod part_msdos
insmod ext2
set root='(hd0,msdos7)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8249a567-7cf8-48c5-adc1-0086668b1523
linux /boot/vmlinuz-2.6.32-5-686 root=UUID=8249a567-7cf8-48c5-adc1-0086668b1523 ro quiet
initrd /boot/initrd.img-2.6.32-5-686
}
menuentry "Debian GNU/Linux, with Linux 2.6.32-5-686 (recovery mode) (on /dev/sda7)" {
insmod part_msdos
insmod ext2
set root='(hd0,msdos7)'
search --no-floppy --fs-uuid --set 8249a567-7cf8-48c5-adc1-0086668b1523
linux /boot/vmlinuz-2.6.32-5-686 root=UUID=8249a567-7cf8-48c5-adc1-0086668b1523 ro single
initrd /boot/initrd.img-2.6.32-5-686
}
menuentry "Ubuntu, with Linux 2.6.35-22-generic (on /dev/sda8)" {
insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos8)'
search --no-floppy --fs-uuid --set ca20ae61-6a8f-43ed-a4b8-61cb9c1735e5
linux /boot/vmlinuz-2.6.35-22-generic root=UUID=ca20ae61-6a8f-43ed-a4b8-61cb9c1735e5 ro quiet splash
initrd /boot/initrd.img-2.6.35-22-generic
}
menuentry "Ubuntu, with Linux 2.6.35-22-generic (recovery mode) (on /dev/sda8)" {
insmod part_msdos
insmod reiserfs
set root='(hd0,msdos8)'
search --no-floppy --fs-uuid --set ca20ae61-6a8f-43ed-a4b8-61cb9c1735e5
linux /boot/vmlinuz-2.6.35-22-generic root=UUID=ca20ae61-6a8f-43ed-a4b8-61cb9c1735e5 ro single
initrd /boot/initrd.img-2.6.35-22-generic
}
### END /etc/grub.d/30_os-prober ###

### BEGIN /etc/grub.d/40_custom ###
# This file provides an easy way to add custom menu entries.  Simply type the
# menu entries you want to add after this comment.  Be careful not to change
# the 'exec tail' line above.
### END /etc/grub.d/40_custom ###

### BEGIN /etc/grub.d/41_custom ###
if [ -f  $prefix/custom.cfg ]; then
  source $prefix/custom.cfg;
fi
### END /etc/grub.d/41_custom ###

วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ทดสอบภาษาไทยจาก MAC OS X

ไม่น่าเชื่อว่าวันนี้ผู้เขียนสามารถติดตั้งแมคลงบนเน็ตบุ๊คคนจนตัวน้อย ๆ
ที่แบกระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์อยู่ถึง 5 ระบบ คือ Windows 7,
MAC OS X, Ubuntu 10.10 Desktop, Debian 6 Squeeze and Ubuntu
10.10 Netbook

Wow, these are my great OSes.

Intern

วันพุธที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สวัสดีจาก Debian 6.0 Squeeze

หลังจากติดตั้งถูกน้องนาง Debian 6 Squeeze ไม่ให้ถูกเนื้อต้องตัว
ออกเน็ตไม่ได้ ไวร์เลสติดต่อออกไปไหนก็ไม่ได้  วันนี้เลยขอไปนั่ง
ห้องที่เขามีไวร์เลสกัน ติดตั้งใหม่ คอนฟิก wlan0 ด้วย dhcp เท่านั้น
แหละน้องนางยอมหมดเลย ออกเน็ตฉลุย วิ่งเร็ว เบา เนียนมาก ๆ
เพราะโปรแกรมที่ลงมาให้มีน้อยมาก

ขอโชว์เดสทอปก่อนนะครับ
ข้างบนนเป็นหน้าตาของ Gnome ที่เป็น default Xwindows ของ Debian 6.0
ผู้เขียนปรับแต่งภาาษาไทยจากเดิมที่เลือกเมนูภาษาไทยตอนติดตั้งโดยการโหลด
ฟอนท์ไทยจาก http://linux.thai.net มาติดตั้งเพิ่มเติม  บังเอิญไปพบเวบ
ต่างประเทศเขารีวิวแล้วติดตั้ง Xwindows อีกตัวคือ LXDE ดูแล้วโดนใจเลย
ติดตั้งเพิ่ม ไม่ผิดหวังครับ สวยเหมือนภาพข้างล่างนี่เลย


ทีนี้ก็ปัญหาเดิมคือมีแอร์การ์ดจีน "เจ้าขาว" ตัวที่มีปัญหาบน Ubuntu
มาแล้ว ลง wvdial ผ่าน ส่วน usb_modeswitch ลงให้ตายยังไงก็
ไม่ผ่านแต่ก็มองเห็น  ก็เลยลงซอฟท์แวร์อื่น ๆ ที่เป็น Servers ได้
ครบสมใจ  แล้วไม่ลืมที่จะลง network-manager-gnome จะได้มอง
เห็น eth0, wlan0, mobile, adsl เหมือนกับใน Ubuntu ลงเสร็จหิว
ข้าวกลับมาบ้านบูทเจ้าขาวกับน้องนาง Debian 6.0 Squeeze เท่านั้น
และเธอปล่อยตัวให้เชยชม

เห็นมะอะไรที่ได้มายาก ๆ มันน่าชื่นชม อิอิอิอิ พูดถูก Debian นะครับ

วันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

วันแรกก็โดนซะแล้ว ตายแล้ว ๆ อะไรกันหว่า

เปล่าหรอกครับไม่ได้อยากร้องเพลงที่จั่วหัวไว้หรอก แต่เจ้า Squeeze ตัวเก่งที่ผม
หมายปองนะสิ เนียนครับ เนียนมาก บูทเร็ว หน้าตาดูดี แต่หวงตัวมากเลย หวง
ตัวยังไงน่ะเหรอ เอาเป็นว่าถ้าไม่มี ADSL, หรือเกตเวย์ที่มีอยู่ก่อนแล้วปิดประตู
ตายเรื่องต่ออินเตอร์เน็ตได้เลย wvdial, gppp ไม่มีให้เห็น ผมเลือกลงหมดแผ่น
642 เมก ที่ดาวน์โหลดมาได้  เจอ wlan0 ครับแต่หาทางออกเน็ตไม่เจอ

แต่ชอบนะไอ้ประเภทหวงตัวยังงี้ เพราะตอนนี้มีแอร์การ์ด (เจ้าขาว) เจ้าปัญหา
ตัวเดียว (ตัวเก่ง) ที่ผมรันบน Ubuntu จนโหลดเจ้า Squeeze มาทั้งแผ่นได้
อยู่หอพักซะด้วยสิ ไม่มีวงแลนที่ไหนให้ต่อออกเน็ตได้  เอาหละเล่นเจ้าบุนตู
ที่ใจง่าย มีให้ทุกอย่างไปก่อนก็แล้วกัน

วันจันทร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

รู้จัก Debian 6.0 Squeeze

6 กุมภาพันธ์ 2554 ทีมพัฒนาได้ออกดิสทริบิวชั่นใหม่ของ Debian โดยมีชื่อ
ดิสทริบิวชั่นว่า Squeeze  วันเดียวกันนี้ได้เปลี่ยโฉมหน้าเว็บใหม่หมดหลังจาก
ใช้แบบเดิม ๆ มากว่า 10 ปี พร้อมกับเปลี่ยนแบนเนอร์ให้ดูสดใส


แพคเกจหลัก ๆ ของดิสทริบิวชั่น คือ
  • KDE Plasma Workspaces and KDE Applications 4.4.5
  • an updated version of the GNOME desktop environment 2.30
  • the Xfce 4.6 desktop environment
  • LXDE 0.5.0
  • X.Org 7.5
  • OpenOffice.org 3.2.1
  • GIMP 2.6.11
  • Iceweasel 3.5.16 (an unbranded version of Mozilla Firefox)
  • Icedove 3.0.11 (an unbranded version of Mozilla Thunderbird)
  • PostgreSQL 8.4.6
  • MySQL 5.1.49
  • GNU Compiler Collection 4.4.5
  • Linux 2.6.32
  • Apache 2.2.16
  • Samba 3.5.6
  • Python 2.6.6, 2.5.5 and 3.1.3
  • Perl 5.10.1
  • PHP 5.3.3
  • Asterisk 1.6.2.9
  • Nagios 3.2.3
  • Xen Hypervisor 4.0.1 (dom0 as well as domU support)
  • OpenJDK 6b18
  • Tomcat 6.0.18
  • more than 29,000 other ready-to-use software packages, built from nearly 15,000 source packages.
ดูจากแพคเกจต่าง ๆ แล้วคงเพียงพอสำหรับการนำมาประยุกต์ใช้ในโรงเรียน
นับว่าเป็นต้นทุนมีมูลค่าสูง ที่รอการนำมาเพิ่มคุณค่าให้สมกับเจตนาของทีมผู้
พัฒนา เนื่องจากเราสามารถนำมาใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องจัดซื้อจัดจ้าง เพราะ
ปัจจุบัน Linux เกือบทุกค่ายได้ออกแบบให้ง่ายต่อการใช้งาน รองรับการใช้ภาษา
ต่าง ๆ ไก้มากขึ้นรวมทั้งภาษาไทยของเราด้วย

Debian GNU/Linux กับการปรับใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์ในโรงเรียน

ปัจจุบันแบนด์วธอินเตอร์เน็ตราคาถูกลงมากกว่าเมื่อก่อนมาก ทั้งชองทางการ
ติดต่อมายังผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ก็มมากขึ้นทั้ง leased line, ADSL,
wireless และ dialup lineหากเรามีการพัฒนาระบบการให้บริการอินเตอร์เน็ต
ในโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้นก็จะสามารถใช้สื่ออินเตอร์เน็ตเป็นสื่อการเรียนการสอน
เป็นช่องทางในการสื่อสารของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้ดียิ่งขึ้นและ
มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ผู้เขียนประยุกต์เอา Debian GNU/Linux มาใช้กับการเรียนการสอนวิชา
คอมพิวเตอร์ให้แก่นักศึกษาเมื่อ 10 ปีที่แล้วเห็นว่า Debian เป็นระบบปฏิบัติการ
ที่ง่ายต่อการติดตั้ง การติดตั้งซอฟท์แวร์ การถอนการติดตั้ง และการปรับปรุง
ระบบที่ติดตั้งแล้วผ่านอินเตอร์เน็ต  นอกจากนั้นยังเป็นระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ที่มีความเสถียรสูง สามารถติดตั้งลงบนคอมพิวเตอร์ได้หลากหลาย
แพลทฟอร์ม ไม่เปลืองทรัพยากรของระบบ เนื้อหาของหนังสือจะเน้นการปรับ
Debian GNU/Linux ใช้สำหรับการใช้งานเป็นเซิร์ฟเวอร์ ขณะเดียวกันก็สามารถ
ใช้งานเป็นเดสทอปได้เนื่องจากมีซอฟท์แวร์ (แพคเกจ) ให้ติดตั้งเพิ่มแบบ
ออนไลน์ได้